การติดตาม ประเมินผล การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามตัวชี้วัดแผนปฏิบัติราชการของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Action Plan : AP) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

Login

คำชี้แจง

ส่วนที่ 2 การติดตาม ประเมินผล การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามตัวชี้วัดแผนปฏิบัติราชการของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Action Plan : AP) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความ
ตัวชี้วัดที่
1
ร้อยละของผู้เรียนที่มีความรู้ความเข้าใจในภัยคุกคามรูปแบบใหม่ทุกรูปแบบ รู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยี ในการดำเนินชีวิตวิถีใหม่และชีวิตวิถีถัดไป
ตัวชี้วัดที่
2
ร้อยละของผู้เรียนได้รับการศึกษาในสถานศึกษาที่มีความปลอดภัย
ตัวชี้วัดที่
3
ร้อยละของสถานศึกษาที่มีแผน/มาตรการในการจัดการภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ รองรับวิถีชีวิตใหม่ (New Normal)
ตัวชี้วัดที่
4
ร้อยละของครู บุคลากรทางการศึกษา ดำเนินการตามแนวทางในการจัดการภัยพิบัติ และภัยคุกคามทุกรูปแบบ ให้สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ รองรับวิถีชีวิตใหม่ (New Normal)
กลยุทธ์ที่ 2 สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนทุกคน
ตัวชี้วัดที่
5
อัตราการเข้าเรียนสุทธิ (Net enrollment rate) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตัวชี้วัดที่
6
อัตราการเข้าเรียนสุทธิของผู้เรียนปฐมวัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตัวชี้วัดที่
7
จำนวนผู้เรียนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษา และพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาที่เหมาะสม ตามความจำเป็น
ตัวชี้วัดที่
8
ร้อยละของผู้เรียนที่ได้รับเงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน
กลยุทธ์ที่ 3 ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
ตัวชี้วัดที่
9
ร้อยละของนักเรียนปฐมวัยมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา
ตัวชี้วัดที่
10
ร้อยละของผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ระดับดีขึ้นไป
ตัวชี้วัดที่
11
ร้อยละของผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะ และทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21
ตัวชี้วัดที่
12
ร้อยละของสถานศึกษาที่สอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ได้รับการเตรียมความพร้อม (ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์) ในการประเมินระดับนานาชาติตามโครงการ PISA
ตัวชี้วัดที่
13
ร้อยละของสถานศึกษาที่สามารถจัดการเรียนการสอนตามพหุปัญญา
ตัวชี้วัดที่
14
ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับการคัดกรองเพื่อพัฒนาพหุปัญญารายบุคคล
ตัวชี้วัดที่
15
จำนวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความถนัด และความสามารถ (วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ทัศนศิลป์ นาฏศิลป์ ดนตรี กีฬา)
ตัวชี้วัดที่
16
ร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนผลการทอดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ร้อยละ 50 ขึ้นไปเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษาที่ผ่านมา
ตัวชี้วัดที่
17
ร้อยละของครูสอนภาษาอังกฤษในระดับชั้นประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ได้รับการพัฒนาและยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้ระดับการพัฒนาทางด้านภาษา (CEFR) ตามเกณฑ์ที่กำหนด
ตัวชี้วัดที่
18
จำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษาที่สามารถจัดการเรียนรู้เชิงรุก
กลยุทธ์ที่ 4 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
ตัวชี้วัดที่
19
ร้อยละของหน่วยงานและสถานศึกษามีระบบบริหารจัดการที่เป็นดิจิทัล
ตัวชี้วัดที่
20
ร้อยละของสถานศึกษานำร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สถานศึกษาที่ตั้งในพื้นที่ลักษณะพิเศษ เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ เขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (EEC) และโรงเรียนคุณภาพ ได้รับการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการศึกษาตามบริบทพื้นที่
ตัวชี้วัดที่
21
ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA online
ตัวชี้วัดที่
22
ร้อยละของสถานศึกษาและหน่วยงานใช้ระบบเชื่อมโยงข้อมูลในระบบแบบ Real Time
ตัวชี้วัดที่
23
จำนวนครั้งของประชาชนที่เข้าถึงหลักสูตร สื่อ แหล่งเรียนรู้ที่จัดการศึกษาในรูปแบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong learning)
ตัวชี้วัดที่
24
ร้อยละของโครงการของหน่วยงานในสังกัด สพฐ. ที่บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามค่าเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ